RSPG-สถานีบูรพา เป็นเว็บแอพพลิเคชันและฐานข้อมูลภายใต้ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-ม.บูรพา ที่รวบรวมข้อมูลทรัพยากรในภาคตะวันออกของไทย เปิดให้เข้าใช้งานได้ฟรี โดยสามารถอ้างอิงบทความวิจัยได้
ที่นี่
ชื่อท้องถิ่น | ตะบูนดำ
ชื่อสามัญ | -
วงศ์ | Meliaceae
Mangrove forest (ป่าชายเลน)พืชป่าชายเลน
ชนิดของลำต้น
ลำต้นใต้ดิน (underground stem) : -
ลำต้นเหนือดิน (aerial stem) : ตั้งตรงเองได้
สีเปลือกลำต้น : สีน้ำตาลเข้ม
ลักษณะเปลือกลำต้น : แตกเป็นร่อง
ยาง : ไม่มี
สีของยาง : -
ชนิดของใบ : ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว (pinnate)
สีของใบ : -
จำนวนใบย่อย (ใบ) : 1-3 คู่
การเรียงตัวของใบบนกิ่ง (phyllotaxy) : ตรงข้าม (opposaite)
รูปร่างแผ่นใบ (leat shap) : รี (elliptic)
ปลายใบ : มน (obtuse)
โคนใบ : สอบเรียว (attenuate)
ขอบใบ : เรียบ (entire)
ชนิดของดอก : ช่อแยกแขนง (panicle)
ตำแหน่งที่ออกดอก : ซอกใบ (axillary)
ลักษณะ : แยกจากกัน (polypetalous)
จำนวน (กลีบ) : 4
สี : เขียว
ลักษณะ : -
จำนวน (กลีบ) : 4
สี : ขาว
สี : ขาว
จำนวน (อัน) : 8
รังไข่ : รังไข่เหนือวงกลีบ (superior ovary)
จำนวน (อัน) : -
สี : -
กลิ่น : -
ชนิดของผล : ผลเดี่ยว (simple fruit)
ผลสด : -
ผลแห้ง : ผลแห้งแตกตามรอยประสาน (septicidal capsule)