RSPG-สถานีบูรพา เป็นเว็บแอพพลิเคชันและฐานข้อมูลภายใต้ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-ม.บูรพา ที่รวบรวมข้อมูลทรัพยากรในภาคตะวันออกของไทย เปิดให้เข้าใช้งานได้ฟรี โดยสามารถอ้างอิงบทความวิจัยได้ ที่นี่
ชื่อวิทยาศาสตร์
Parameria laevigata (Juss.) Moldenke

ชื่อท้องถิ่น | กุมาริกา, เครือเขามวก, เครือซูด ช่อมาลี ช้างงาเดียว สร้อยสุมาลี
ชื่อสามัญ | -
วงศ์ | Apocynaceae


ถิ่นอาศัย

Terrestrial (บนบก)

ลักษณะเด่นและภาพประกอบ

คลิกที่ภาพหรือข้อความเพื่อดูภาพประกอบขนาดใหญ่

ก้าานช่อดอกสีแดง กลีบดอกสีขาว โคนกลีบเชื่อมติดกันเป็นหลอดสั้น ปลายแยกออกเป็น 5 กลีบเรียงเวียนซ้อนเหลื่อมกัน
ไม้เถา เถาสีน้ำตาล มีช่องอากาศกระจายอยู่ทั่วไป
ใบเรียงตรงข้าม

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ลักษณะวิสัย (habit) : ไม้เลื้อย (climber) หรือ ไม้รอเลื้อย (scandent)
เรือนยอด ทรงพุ่ม (crow shape) : -
ความสูง (เมตร) : 3 ถึง 10
ความกว้างทรงพุ่ม (เมตร) : 0 ถึง 0

ชนิดของลำต้น
ลำต้นใต้ดิน (underground stem) : -
ลำต้นเหนือดิน (aerial stem) : ใช้ลำต้นเกี่ยวพัน (twining)

สีเปลือกลำต้น : สีน้ำตาล
ลักษณะเปลือกลำต้น : เปลือกเถามีช่องอากาศขรุขระ

ยาง : มี
สีของยาง : ขาวขุ่น

ชนิดของใบ : ใบเดี่ยว (simple leaf)
สีของใบ : -
จำนวนใบย่อย (ใบ) : -
การเรียงตัวของใบบนกิ่ง (phyllotaxy) : ตรงข้าม (opposaite)
รูปร่างแผ่นใบ (leat shap) : รี (elliptic)
ปลายใบ : แหลม (acute)
โคนใบ : มน (truncate)
ขอบใบ : เรียบ (entire)

ชนิดของดอก : ช่อกระจุกแยกแขนง (thytse)
ตำแหน่งที่ออกดอก : ตามลำต้นหรือกิ่ง (cauliflorous)

ลักษณะ : -
จำนวน (กลีบ) : 5
สี : เขียว

ลักษณะ : รูปดอกเข็ม (salverform)
จำนวน (กลีบ) : 5
สี : ขาว

สี : -
จำนวน (อัน) : 5

รังไข่ : -
จำนวน (อัน) : -
สี : -
กลิ่น : -

ชนิดของผล : -
ผลสด : -
ผลแห้ง : ผลแห้งแตกตามรอยประสาน (septicidal capsule)

การกระจายที่พบ
ระยอง

เอกสารอ้างอิง

-