RSPG-สถานีบูรพา เป็นเว็บแอพพลิเคชันและฐานข้อมูลภายใต้ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-ม.บูรพา ที่รวบรวมข้อมูลทรัพยากรในภาคตะวันออกของไทย เปิดให้เข้าใช้งานได้ฟรี โดยสามารถอ้างอิงบทความวิจัยได้ ที่นี่
ชื่อวิทยาศาสตร์
Asparagus racemosus Willd.

ชื่อท้องถิ่น | สามสิบ, สามร้อยราก
ชื่อสามัญ | -
วงศ์ | Asparagaceae


ถิ่นอาศัย

Terrestrial (บนบก)พืชเถาเลื้อย

ลักษณะเด่นและภาพประกอบ

คลิกที่ภาพหรือข้อความเพื่อดูภาพประกอบขนาดใหญ่

กิ่งที่มีรูปร่างคล้ายใบ (cladophyll) เป็นเส้นรูปขอบขนาน แตกแขนงรอบข้อ
เหง้าใต้ดินออกเป็นกระจุก อวบน้ำ

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ลักษณะวิสัย (habit) : ไม้เลื้อย (climber) หรือ ไม้รอเลื้อย (scandent)
เรือนยอด ทรงพุ่ม (crow shape) : กลม (rounded)
ความสูง (เมตร) : -
ความกว้างทรงพุ่ม (เมตร) : 0 ถึง 0

ชนิดของลำต้น
ลำต้นใต้ดิน (underground stem) : เหง้า (rhizome)
ลำต้นเหนือดิน (aerial stem) : ใช้ตะขอ(hook) หรือหนามยึดเกาะ

สีเปลือกลำต้น : -
ลักษณะเปลือกลำต้น : เรียบ

ยาง : -
สีของยาง : -

ชนิดของใบ : ใบเดี่ยว (simple leaf)
สีของใบ : -
จำนวนใบย่อย (ใบ) : -
การเรียงตัวของใบบนกิ่ง (phyllotaxy) : ใบเกร็ดเรียงสลับ เมื่อใบแก่เปลี่ยนเป็นหนามโค้ง
รูปร่างแผ่นใบ (leat shap) : -
ปลายใบ : -
โคนใบ : -
ขอบใบ : -

ชนิดของดอก : ช่อกระจะ (raceme)
ตำแหน่งที่ออกดอก : ตามลำต้นหรือกิ่ง (cauliflorous)

ลักษณะ : -
จำนวน (กลีบ) : -
สี : -

ลักษณะ : -
จำนวน (กลีบ) : 6
สี : ขาว

สี : ขาว
จำนวน (อัน) : จำนวนมาก

รังไข่ : -
จำนวน (อัน) : -
สี : -
กลิ่น : -

ชนิดของผล : -
ผลสด : มีเนื้อกึ่งหลายเมล็ด (berry)
ผลแห้ง : -

การกระจายที่พบ
ชลบุรี
ระยอง
จันทบุรี
ฉะเชิงเทรา

เอกสารอ้างอิง

-